ทรัพยากรสารสนเทศ

Cards (48)

  • ทรัพยากรสารสนเทศจำแนกเป็น 3 ประเภท
    • สื่อสิ่งพิมพ์
    • สื่อโสตทัศน์
    • สื่อดิจิทัล
  • สื่อสิ่งพิมพ์ 4 ประเภท
    • หนังสือ
    • สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
    • จุลสาร
    • กฤตภาค
  • การจำแนกประเภทหนังสือ
    • จำแนกตามลักษณะการประพันธ์
    • จำแนกตามเนื้อหา
  • หนังสือที่จำแนกตามลักษณะการประพันธ์
    1. งานร้อยแก้ว เรียงความทั่วไป
    2. งานร้อยกรอง
  • หนังสือที่จำแนกตามเนื้อหาได้แก่
    • หนังสือสารคดี
    • หนังสือบันเทิงคดี
  • หนังสือสารคดี ตัวอย่าง
    • ตำราหรือแบบเรียน
    • หนังสืออ้างอิง
    • สิ่งพิมพ์รัฐบาล
    • วิทยานิพนธ์
    • รายงานการวิจัย
  • หนังสือบันเทิงคดี ตัวอย่าง
    • นวนิยาย
    • เรื่องสั้น
    • หนังสือสำหรับเด็กและเยาวชน
  • คุณลักษณะ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
    • ใช้ชื่อเรื่องเดียวตลอดการเผยแพร่
    • มีหมายเลขเรียงละดับประจำฉบับ
    • เผยแพร่ประจำและต่อเนื่อง
    • กำหนดการออกที่แน่นอน
  • ความสำคัญ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
    • ทันสมัย
    • นำเสนอค.ก้าวหน้าทางวิชาการ
    • ให้ความรู้ ความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่าน
    • เป็นสื่อประชาสัมพันธ์
  • ประเภท สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
    1. วารสาร
    2. นิตยสาร
    3. หนังสือพิมพ์
  • การจำแนก สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
    1. กลุ่มผู้อ่าน
    2. แหล่งที่จัดพิมพ์
    3. ลักษณะข้อมูลที่เผยแพร่
    4. สาขาวิชา
  • การจำแนกสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง ตามกลุ่มผู้อ่าน
    1. ผู้อ่านทั่วไป เช่น นิตยสาร
    2. ผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม เช่น กลุ่มสตรี กลุ่มเด็ก กลุ่มการเมือง
  • การจำแนกสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง ตามแหล่งที่จัดเก็บ
    1. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องของ สมาคม สถาบันวิชาการและวิชาชีพ
    2. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องของสถาบันอุดมศึกษา
    3. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องของหน่วยงานเอกชน(เชิงพาณิชย์)
  • การจำแนกสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง ตามลักษณะข้อมูลที่เผยแพร่
    1. สพตน.เผยแพร่ข้อมูลปฐมภูมิ เช่น วารสาร
    2. สพตน.เผยแพร่ข้อมูลทุติยภูมิ เช่น วารสารดรรชนีและสาระสังเขป
  • สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องตามสาขาวิชา
    1. วิทย์เทคโนโลยี
    2. สังคมศาสตร์
    3. มนุษยศาสตร์
  • สพตน.เล่มแรกที่วางจำหน่าย
    1. ฝรั่งเศส Le Iovrnal Des Scavans
    2. อังกฤษ Acta Philologica
    3. อเมริกา The American magazine & historical chronicle
    4. ไทย หนังสือจดหมายเหตุ the Bangkok recorder
  • จุลสาร
    สิ่งพิมพ์ขนาดเล็ก อยู่ในรูปแผ่นพับเล่มบาง หนา 5-48 หน้า
  • กฤตภาค
    บทความ ข่าว ภาพที่ตัดมาผนึกลงกระดาษ โดยมีการแจ้งแหล่งที่มา กำหนดหัวข้อเรื่องที่สืบค้นและจัดเก็บในแฟ้มตามหัวเรื่อง
  • สื่อโสตทัศน์ จำแนกได้ 2 ประเภท
    1. สื่อโสตทัศน์ที่ไม่ต้องใช้โสตทัศนูปกรณ์ (วัสดุกราฟิก)
    2. สื่อโสตทัศน์ที่ต้องใช้โสตทัศนูปกรณ์ (วัสดุย่อส่วน)
  • สื่อโสตทัศน์ที่ไม่ต้องใช้โสตทัศนูปกรณ์
    • แผนภูมิ
    • แผนภาพ
    • แผนสถิติ
    • ใบปิด(โปสเตอร์)
    • ภาพการ์ตูน
    • แผนที่
    • แบบจำลองและของตัวอย่าง
  • สื่อโสตทัศน์ที่ต้องใช้โสตทัศนูปกรณ์
    • สไลด์
    • ภาพยนตร์
    • วีดิทัศน์
    • แถบบันทึกเสียง
  • วัสดุย่อส่วน คือ...?
    สื่อโสตทัศน์ที่ใช้โสตทัศนูปกรณ์
  • เหตุผลที่ใช้วัสดุย่อส่วนในการบันทึกข้อมูลสารสนเทศ
    • ราคาไม่แพง
    • มั่นคง รักษาได้ยาวนาน
    • เก็บข้อมูลได้จำนวนมาก
    • มีค.เป็นเจ้าของยาวนาน
  • ประเภทของสื่อดิจิทัล
    • CD-ROM
    • Databases
    • Bibliographic Databases
    • Full-text Databases
    • Multimedia
    • Hypermedia
  • ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิง
    1. ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิงประเภทให้สารสนเทศ
    2. ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิงประเภทแนะแหล่งสารสนเทศ
  • คุณลักษณะสำคัญของทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิง
    1. ไม่อนุญาตให้ผู้ใช้ยืมออกไปใช้งานนอกห้องสมุด
    2. ใช้ค้นหาข้อมูล คำตอบที่ต้องการ เท่านั้น
    3. มีการจัดเรียงข้อมูลตามวัตถุประสงค์การใช้งาน
  • ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิงประเภทให้สารสนเทศ
    1. พจนานุกรม
    2. สารานุกรม
    3. นามานุกรม
    4. อักขรานุกรมชีวประวัติ
    5. สารสนเทศอ้างอิงทางภูมิศาสตร์
    6. หนังสือรายปี
    7. หนังสือคู่มือ
  • พจนานุกรม
    • รวบรวมคำศัพท์
    • เรียงลำดับตามตัวอักษร
    • ให้ข้อมูลเกี่ยวกับคำศัพท์
  • จำแนกพจนานุกรมตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน
    • พจนานุกรมภาษา เช่น ภาษาเดียว สองภาษา หลายภาษา
    • พจนานุกรมเสริมภาษา เช่น คำพ้อง คำย่อและตัวย่อ ภาษาถิ่น ภาษาแสลง
    • พจนานุกรมเฉพาะวิชา
    • ศัพท์สัมพันธ์
    A) พจนานุกรมเฉพาะวิชา
  • สารานุกรม
    • ให้สารสนเทศที่อยู่ในรูปบทความ
    • ครอบคลุมเนื้อหาสาระสาขาวิชา เรื่องราวอย่างกว้างขวาง
    • จัดเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบ
    • มีดรรชนีช่วยค้นเรื่องอย่างละเอียด
  • ประเภทของสารานุกรม
    1. สารานุกรมทั่วไป
    2. สารานุกรมเฉพาะวิชา
  • สารานุกรมทั่วไป
    • สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
    • สารานุกรมไทย ฉบับเยาวชน
    • Encyclopedia Americana
    • The Encyclopedia Britannica
    • The World Book Encyclopedia
  • สารานุกรมเฉพาะวิชา
    • Princeton Encyclopedia of Poetry and Poetics
    • Welter Breen's Complete Encyclopedia of U.S. and Colonial coins
    • Encyclopedia of Business & Finance
  • นามานุกรม(ทำเนียบนาม/นามสงเคราะห์) Directory
    • ใช้ในการค้นหาชื่อหน่วยงาน สถานที่ติดต่อ
    • รวมรายชื่อบุคคล ชื่อสถาบัน หน่วยงาน สมาคม องค์กร ห้าง
    • จัดเรียงข้อมูลเป็นระบบ
  • อักขรานุกรมชีวประวัติ (ฺBiographical Dictionary)
    • รวมข้อมูลชีวประวัติบุคคลสำคัญตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น วัน เดือน ปีเกิด ปีตาย ครอบครัว การงาน การศึกษา ตำแหน่ง เกียรติยศ ภูมิลำเนา
    • เรียงข้อมูลตามลำดับอักษรของชื่อบุคคล
  • จำแนกอักขรานุกรมชีวประวัติได้ 3 ประเภท
    1. บุคคลทั่วไป
    2. บุคคลในชาติใดชาติหนึ่ง
    3. บุคคลในอาชีพใดอาชีพหนึ่ง
  • สารสนเทศอ้างอิงทางภูมิศาสตร์(Geographical Sources)
    • รวมข้อมูลและข้อเท็จจริงด้านภูมิศาสตร์
    • จัดเรียงข้อมูลตามลำดับอักษรของชื่อทางภูมิศาสตร์
  • สารสนเทศอ้างอิงทางภูมิศาสตร์จำแนกได้ 3 ประเภท
    1. อักขรานุกรมภูมิศาสตร์
    2. แผนที่และหนังสือแผนที่
    3. หนังสือนำเที่ยว
  • หนังสือรายปี
    • บันทึกความรู้ การเปลี่ยนแปลง เหตุการณ์สำคัญ ในรอบปีที่ผ่านมา
    • นำเสนอในรูปแบบบทความ ตารางตัวเลขสถิติ
    • จัดพิมพ์และเผยแพร่เป็นรายปี
  • ประเภทหนังสือรายปี
    1. หนังสือรายปีสารานุกรม
    2. สมพัตสร
    3. หนังสือสถิติรายปี
    4. หนังสือสรุปข่าวปัจจุบัน